วันศุกร์ที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2550

สวนบ้านกรูด บีช รีสอร์ท


สวนบ้านกรูด บีช รีสอร์ท
สถานที่...ที่ท่านจะได้พักผ่อนกับบ้านพักหลากสไตล์ ท่ามกลางทิวมะพร้าว...กับความสดชื่นที่กลมกลืนกับธรรมชาติ ซึ่งเราได้จัดเตรียมพร้อมไว้...รอคอยการมาเยือนจากท่าน
สวนบ้านกรูด บีช รีสอร์ท
หาดทรายสะอาด....ทะเลใส....ฟ้าสีคราม ยามเช้า...สัมผัสบรรยากาศที่สดใส ท่ามกลางเสียงทักทายของเหล่านกน้อยยามบ่าย...ก็ยังสดชื่นด้วยกลิ่นไอทะเลและเกลียวคลื่นยามเย็น...เพลิดเพลินกับชายหาดที่ทอดยาว...สุดตา พร้อมแสงสีทอง...ยามดวงอาทิตย์จะลับขอบฟ้า
นอกจากนี้....ยังมีสถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียงที่จะให้ท่านได้เพลิดเพลินกับการพักผ่อนในวันหยุด...อาทิเช่นดำน้ำชมปะการัง ณ.เกาทะลุ หรือ เกาะรำล่า.....ตกปลา ตกหมึกนมัสการสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ณ.เขาธงชัย ที่ประดิษฐานพระมหาเจดีย์เก้ายอดพระพุทธกิตติสิริชัย พระตำหนักกรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์
ให้วันพักผ่อนได้พักผ่อน......บรรยากาศดี..ดี กับการสร้างสรรค์ตนเองให้เสมือนหนึ่งธรรมชาติ ไม่ว่าจะมาเยือนสักกี่ครั้ง....ก็ยังประทับใจมิรู้ลืม......

พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน








ตั้งอยู่ในบริเวณค่ายพระรามหก ที่ตำบลห้วยเหนือ อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี ตรงหลักกม.ที่ 216 เลยหาดชะอำมาเล็กน้อย เป็นพระตำหนักที่ประทับริมทะเล ซึ่งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้รื้อพระตำหนักหาดเจ้าสำราญมาปลูกขึ้นใหม่เมื่อปี พ.ศ.2466 ได้รับขนานนามว่า "พระราชนิเวศน์แห่งความรักและความหวัง" ลักษณะเป็นพระตำหนักไม้สองชั้น หันหน้าออกสู่ทะเล พระตำหนักฝ่ายในอยู่ปีกขวา ทางปีกซ้ายเป็นส่วนของฝ่ายหน้า ประกอบด้วยพระที่นั่งสามองค์เชื่อมต่อ ถึงกันโดยตลอด พระที่นั่งสุนทรพิมาน เป็นที่ประทับของพระนางเจ้าอินทรศักดิ์ศจี พระวรชายา พระที่นั่ง พิศาลสาครเป็นที่ประทับของพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นหมู่พระที่นั่งตรงกลางประกอบด้วยห้องต่าง ๆ สำหรับสำราญพระอิริยาบถ ห้องพักข้าราชบริพารที่คอยรับใช้ใกล้ชิด ห้องทรงพระอักษร และพระที่นั่ง สโมสรเสวกามาตย์ เป็นอาคารโถงสองชั้นเปิดโล่งใช้เป็นที่ประชุมในโอกาสต่าง ๆ และเป็นโรงละคร ซึ่งเคยจัดแสดงละครครั้งสำคัญ 2 ครั้ง คือ เรื่องพระร่วง และวิวาห์พระสมุทรในปี พ.ศ.2484 เจ้าพระยารามราฆพ ได้สร้างพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ถวายเป็นพระราชานุสรณ์ประดิษฐานไว้ ณ ท้องพระโรงพระราชนิเวศน์มฤคทายวัน และได้จัดงานบำเพ็ญ พระราชกุศลถวายเป็นพระราชสักการะ เนื่องในวันที่ระลึกคล้ายวันสวรรคตของพระองค์ในวันที่ 25 พฤศจิกายน เป็นประจำทุกปี
พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน เปิดให้เข้าชมทุกวัน ระหว่างเวลา 08.00-16.00 น. สำหรับผู้เข้าชมเป็นหมู่คณะ ต้องทำหนังสือถึงผู้กำกับการกองบังคับการฝึกพิเศษ ค่ายพระรามหก อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี โทร. (032) 471388 , 471130

วันอังคารที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2550

Corridor du Wakhan


Le corridor du Wakhan (également écrit Vakhan ; وخان en persan) est un étroit corridor, une queue de poêle, situé dans la province du Badakhchan, à l'est de l'Afghanistan.

Géographie
Le corridor du Wakhan, situé dans la région montagneuse du
Pamir, est bordé au nord par le Tadjikistan, au sud par le Pakistan et à l'est par la Chine et mesure parfois moins de 15 km de large sur environ 200 km de long.
À l'extrémité orientale, le col du
Wakhjir permet de franchir l'Hindū-Kūsh à l'altitude de 4 923 m ; il s'agit de l'un des poste frontière les plus élevés du monde (la différence de fuseau horaire, entre le fuseau +4:30 UTC de l'Afghanistan et +8 UTC de la Chine, est par ailleurs la plus grande au monde).
Le corridor de Wakhan est très peu peuplé. Le principal groupe ethnique est formé par les
Wakhis, ainsi que par quelques Kirghizes.

Histoire
Le corridor du Wakhan fut créé à la fin du XIXe siècle par l'
empire britannique comme tampon contre une agression potentielle de la Russie contre l'Inde, pendant la période du « Grand jeu ».

นานาชาติฝรั่งเศส






แนะนำโรงเรียน
โรงเรียนฝรั่งเศสนานาชาติกรุงเทพเป็นสถานบันที่ดำเนินการตามหลักการของ AEFE (หน่วยงานดูแลการเรียนการสอนฝรั่งเศสในต่างประเทศ)เป็นสถาบันที่ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการบริหารโรงเรียนเป็นหนึ่งในเครือข่ายโรงเรียนฝรั่งเศสในต่างประเทศที่มีมากกว่า 400 แห่งซึ่งล้วนแต่ได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการจากกระทรวงการศึกษาฝรั่งเศส(มีนักเรียนทั้งหมด 235,000 คน เป็นชาวฝรั่งเศส 78,000 คน กระจายอยู่ใน 127 ประเทศ)โรงเรียนถือเป็นสถานศึกษาที่ตอบสนองการศึกษาภาครัฐของเด็กฝรั่งเศสให้เป็นไปได้อย่างต่อเนื่องทั้งยังเผยแพร่ภาษาและวัฒนธรรมฝรั่งเศสโดยการรับเด็กนักเรียนไทยและเด็กสัญชาติอื่นๆนอกจากนี้ยังมีส่วนร่วมในการกระชับความสัมพันธ์ระบบการศึกษาของฝรั่งเศสและไทย (ทวิภาคี)โรงเรียนรับนักเรียนตั้งแต่อายุ 3-18 ปี การเรียนการสอนส่วนใหญ่ใช้ภาษาฝรั่งเศสแต่ก็มิได้ละเลยความสำคัญของภาษาอื่นๆ โดยมีการสอนภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ให้กับนักเรียนทุกระดับชั้น และภาษาสเปนและเยอรมันให้กับนักเรียนระดับมัธยม

Image du jour


Vieux livres à reliure traditionnelle nervurée, dans un des rayons de la bibliothèque du Merton College à l’Université d’Oxford (Royaume-Uni).

วันจันทร์ที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2550

Lexique de l'actualité sur RFI [คำศัพท์จากข่าวฝรั่งเศส]



attentat (n.m.) : การก่อวินาศกรรม / attentat suicide = การก่อวินาศกรรมแบบระเบิดพลีชีพ / attentat à la voiture piégée = การก่อวินาศกรรมโดยการวางระเบิดรถยนต
affrontement (n.m.) : การเผชิญหน้า
autorité (n.f.) : เจ้าหน้าที่, ผู้มีอำนาจในการดำเนินการ
appliquer (v.) : นำมาใช้, นำมาประยุกต์ใช้
biocarburant (n.m.) : น้ำมันเชื้อเพลิงที่มีส่วนผสมของน้ำมันที่สกัดจากพืช
les bleus (n.m.) : ทีมชาติ (ฟุตบอล, รักบี้...) ฝรั่งเศส
bouc émissaire (n.m.) : แพะรับ
coup d'État (n.m.) : การก่อรัฐประหาร
compromis (n.m.) : การประนีประนอมกั
couvre-feu (n.m.) : เคอร์ฟิว (= มาตรการรักษาความปลอดภัยในยามฉุกเฉิน โดยการห้ามออกจากบ้านในยามวิกาล)
cessez-le-feu (n.m.) : การหยุดยิง, การหยุดสู้รบอย่างเป็นทางการ
correspondant (n.m.) : ผู้สื่อข่าว, ผู้ที่เราติดต่อด้วย เช่น pen friend / correspondant permanant = ผู้สื่อข่าวที่ประจำอยู่ตามประเทศต่างๆ
compter + inf. (v.) : ตั้งใจที่จะ, มีโครงการที่จะ
prendre conscience (n.f.) : มีจิตสำนึก
cour constitutionnelle (n.f.) : ศาลรัฐธรรมนูญ
cible (n.f.) : เป้า, ที่หมาย / cibler (v.) = พุ่งเป้าไปที่, มุ่งไป
carnage (n.m.) : การฆ่าฟันอย่างทารุณ, การนองเลือ
diplomate (n.) : นักการทูต]
dirigeant (n.m.) : ผู้นำประเทศ
dénoncer (v.) : ประณาม, กล่าวโทษ
déarmement (n.m.) : การปลดอาวุธ, การวางอาวุธ
décret (n.m.) : คำประกาศ, คำสั่ง
délégation (n.f.) : คณะผู้แทน (เจรจา...)
déclencher (v.) : ทำให้คลาย, ลั่นไก, เริ่ม(รุกรบ)
déroulement (n.m.) : การดำเนินไปของ(เหตุการณ์ ...) / se dérouler = (เหตุการณ์) ดำเนินไป, คลี่คลาย
effet de serre (n.m.) : ปรากฎการณ์เรือนกระจก
envoyé spécial (n.m.) : นักข่าวที่เดินทางไปทำข่าวสำคัญในสถานที่ต่างๆ
écologie (n.f.) : (การอนุรักษ์) สิ่งแวดล้อม, ธรรมชาติ
échec (n.m.) : ความล้มเหลว
état (n.m.) : 1. รัฐ, ประเทศ 2. สภาพ(ของคน หรือสิ่งต่างๆ) / faire état de = คิดเป็นจำนวน, มีจำนวน ...
exil (n.m.) : การเนรเทศ / partir en exil = เดินทางไปลี้ภัย / exilé (n.m.) = ผู้ที่ถูกเนรเทศ
financer (v.) : ให้เงินสนับสนุน , สนับสนุนทางการเงิน

ลำดับเหตุการณ์ความไม่สงบที่ฝรั่งเศส: เคอร์ฟิวสยบจลาจล มหาดไทยจุดกระแสใหม่ไล่ผู้ก่อเหตุต่างชาติ



เอเอฟพี - การประกาศใช้มาตรการฉุกเฉินหรือเคอร์ฟิวในหลายเมืองทั่วฝรั่งเศส มีผลให้เหตุจลาจลในแดนน้ำหอมลดลงอย่างมากเป็นครั้งแรกในรอบเกือบ 2 สัปดาห์ ด้านรัฐมนตรีมหาดไทยจุดกระแสเดือดอีก ด้วยการประกาศจะเนรเทศผู้ก่อเหตุจลาจลที่เป็นชาวต่างชาติออกนอกประเทศ

พุธที่ 19 ต.ค.- นิโกลาส ซาร์โกซี รัฐมนตรีมหาดไทยฝรั่งเศส ประกาศสงครามกับความรุนแรงในเขตชานเมืองอังคารที่ 25 ต.ค.- ระหว่างเดินทางเยี่ยมเยียนประชาชนในย่าน อาร์ชองเตยล์ ชานกรุงปารีส ซาร์โกซีถูกขว้างปาด้วยก้อนหินและขวด ซึ่งเขาเรียกวัยรุ่นผู้ก่อเหตุในพื้นที่ยากจนรอบกรุงปารีส ว่าเป็น "ขยะสังคม"พฤหัสบดีที่ 27 ต.ค.- วัยรุ่น 2 คน คนหนึ่งอายุ 15 ปี มีเชื้อสายมาลี อีกคนอายุ 17 ปี มีเชื้อสายตูนิเซีย หลบหนีการตรวจค้นของเจ้าหน้าที่ไปยังสถานีส่งไฟฟ้า ทำให้ถูกไฟช็อตเสียชีวิตบริเวณหม้อแปลงไฟฟ้า ในย่าน กลีชีซุสบัวส์- วัยรุ่นคนอื่นๆ ในย่านชานเมืองที่รู้ข่าวการเสียชีวิตของทั้งคู่ ออกมาแสดงความโกรธแค้น และเผารถไป 23 คัน รวมทั้งทำลายอาคารสถานที่ต่างๆ อีกทั้งขว้างปาก้อนหินและขวดใส่เจ้าหน้าที่ปราบจลาจลศุกร์ที่ 28 ต.ค.- วัยรุ่น 400 คน ปะทะกับตำรวจในย่านกลีชีซุสบัวส์ ขว้างก้อนหิน ขวด และระเบิดขวด มีตำรวจ 23 คนได้รับบาดเจ็บ และตำรวจคนอื่นๆ จำเป็นต้องยิงกระสุนยางเพื่อสลายม็อบ มีคนยิงปืนใส่รถแวนของตำรวจปราบจลาจลด้วย แต่ไม่มีใครได้รับบาดเจ็บ ตำรวจจับวัยรุ่นได้ 13 คน และมีรถถูกเผาไป 29 คันเสาร์ที่ 29 ต.ค.- ประชาชน 500 คนเดินขบวนอย่างสงบ ผ่านย่านคลิชีย์ ซูส์บัวส์เพื่อระลึกถึงวัยรุ่นที่เสียชีวิต- เกิดเหตุรุนแรงขึ้นอีกในตอนดึก เผารถไป 20 คัน มีคนถูกจับ 9 คน บางคนมีค้อนและถังน้ำมันอาทิตย์ที่ 30 ต.ค.- เกิดการปะทะกันที่ย่านคลิชีย์ ซูส์บัวส์ เจ้าหน้าที่ตำรวจ 6 คนได้รับบาดเจ็บ มีคนถูกจับ 11 คน และมีรถถูกเผา 8 คัน ตำรวจยิงแก๊สน้ำตาใส่ฝูงชนแต่กลับพลาดเข้าไปในมัสยิด สร้างความแค้นเคืองให้ประชาชนในชุมชนมุสลิมแห่งดังกล่าวจันทร์ที่ 31 ต.ค.- ซาร์โกซีกล่าวว่า เขามีความตั้งใจจริงที่จะควบคุมเหตุจลาจล ส่วนครอบครัวของวัยรุ่นสองคนที่เสียชีวิต ปฏิเสธที่จะพบเขา โดยบอกว่าซาร์โกซี "ขาดความสามารถ"- วัยรุ่นกับตำรวจยังปะทะกันเป็นระยะ ในย่านคลิชีย์ ซูส์บัวส์ และชานเมืองอื่นๆ มีคนถูกจับ 19 คน และมีรถถูกเผา 68 คันอังคารที่ 1 พ.ย.- นายกรัฐมนตรีโดมินิก เดอ วิลเลอแปง พบกับครอบครัวของวัยรุ่นที่เสียชีวิต และเชิญซาร์โกซีมาร่วมด้วย- สถานการณ์ใน คลิชีย์ ซูส์บัวส์เริ่มสงบลงแล้ว แต่กลับมีเหตุจลาจลและการปะทะกันปะทุขึ้นในชานเมืองอื่นๆ ทางเหนือและตะวันตกของกรุงปารีส รวมๆ แล้วมีรถถูกเผา 180 คัน และจับคนได้ 34 คนพุธที่ 2 พ.ย.- ประธานาธิบดีฌาคส์ ชีรัค กล่าวเตือนประชาชนอย่าใช้อารมณ์รุนแรง และทำให้เรื่องราวลุกลามใหญ่โต- วิลเลอแปงกับซาร์โกซี ยกเลิกการเดินทางไปต่างประเทศ เพื่อรับมือกับความรุนแรงที่ขยายตัว- เกิดการก่อเหตุจลาจลในชานเมือง 22 แห่ง ทางเหนือ ใต้ ตะวันออก และตะวันตกของกรุงปารีส หญิงพิการวัย 56 ปีคนหนึ่งถูกไฟคลอกสาหัส เมื่อวัยรุ่นสาดน้ำมันใส่รถเมล์และจุดไฟเผา ขณะที่เธอหนีออกจากรถไม่ทัน ตำรวจรายงานว่า มีรถถูกเผา 315 คัน และมีคนถูกจับอย่างน้อย 15 คนพฤหัสบดีที่ 3 พ.ย.- เปิดการสอบสวนเรื่องการเสียชีวิตของวัยรุ่นสองคน- วิลเลอแปงประกาศว่า รัฐบาลจะไม่ยอมจำนนกับการใช้ความรุนแรง- ซาร์โกซีบอกว่า ที่ผ่านมาจับคนได้กว่า 140 คนแล้ว นับตั้งแต่มีความรุนแรงเริ่มขึ้น- การจลาจลกลับมาอีกในช่วงค่ำ และเป็นครั้งแรกที่ขยายตัวไปยังพื้นที่อื่นๆ ในฝรั่งเศส ใน ดิฌอง, มาร์กเซย์ นอร์มังดี มีรถถูกเผาในตอนกลางของปารีส 7 คัน รวมๆ ทั้งหมดแล้วมีรถถูกทำลายไป 517 คัน ทั้งในและรอบๆ เมืองหลวง และมีคนถูกจับอีก 78 คนศุกร์ที่ 4 พ.ย.-มีการลอบวางเพลิงในชานเมืองรอบปารีส และเมืองอื่นๆ ของฝรั่งเศส รวมๆ แล้วมีรถถูกเผา 897 คัน และมีคนถูกจับกว่า 250 คนอาทิตย์ที่ 6 พ.ย.- ประธานาธิบดีฌาคส์ ชีรัค ให้คำมั่นหลังหารือกับคณะรัฐมนตรีว่า จะทำให้สถานการณ์คลี่คลายโดยเร็วจันทร์ที่ 7 พ.ย.- มีผู้เสียชีวิตรายแรกจากเหตุรุนแรงที่ปะทุขึ้นตั้งแต่วันที่ 27 ต.ค. โดย ฌอง-ฌาคส์ เลอ เชนาเดก ชายวัย 61 ปี ที่ถูกหนุ่มสวมหมวกคลุมหน้าคนหนึ่งทำร้ายเมื่อวันศุกร์(4) ระหว่างเกิดความไม่สงบในย่านสแตงส์ ชานเมืองด้านเหนือของกรุงปารีส เสียชีวิตที่โรงพยาบาลอังคารที่ 8 พ.ย.- ช่วงคืนที่ผ่านมา เกิดเหตุเผารถยนต์ 1,173 คัน และเจ้าหน้าที่จับกุมผู้ก่อเหตุได้ 330 คน มีตำรวจได้รับบาดเจ็บ 12 คน- คณะรัฐมนตรีให้อำนาจเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นในการประกาศภาวะฉุกเฉิน หรือเคอร์ฟิว เพื่อยับยั้งการเคลื่อนไหวของผู้ก่อเหตุ ซึ่งนับเป็นครั้งแรกที่มีการบังคับใช้กฎหมายดังกล่าวในฝรั่งเศส นับตั้งแต่ปี 1955 เป็นต้นมาพุธที่ 9 พ.ย.- ภาวะฉุกเฉินมีผลบังคับใช้หลังเที่ยงคืนในพื้นที่ต่างๆ ราว 30 แห่งทั่วประเทศ ซึ่งเจ้าหน้าที่ระบุว่า การประกาศเคอร์ฟิวมีส่วนช่วยให้การก่อเหตุไม่สงบลดลง แม้จะยังมีการก่อจลาจลในหลายพื้นที่
พฤหัสบดี 10 พ.ย.
เจ้าหน้าที่รายงานว่า แม้จะยังมีการก่อเหตุเผารถยนต์และลอบวางเพลิงในคืนวันพุธที่ผ่านมา (9) ซึ่งเป็นวันที่ 14 ของเหตุจลาจล แต่ถือว่าสถานการณ์ความไม่สงบทั่วฝรั่งเศสลดลงกว่าคืนก่อนๆ อย่างมาก ทำให้เกิดความหวังว่าเหตุจลาจลที่รุนแรงที่สุดในฝรั่งเศส นับตั้งแต่เดือนพฤษภาคมปี 1968 จะคลี่คลายได้เหตุการณ์รุนแรงที่ปะทุขึ้นเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม นำไปสู่การประกาศใช้เคอร์ฟิวใน 21 เมืองทั่วฝรั่งเศส ซึ่งสั่งห้ามไม่ให้เด็กอายุต่ำกว่า 16 ปี ออกจากบ้านโดยไม่มีผู้ใหญ่ดูแล ตั้งแต่ช่วงเวลา 4 ทุ่มถึง 6 โมงเช้า และห้ามซื้อน้ำมัน ทั้งนี้ เหตุจลาจลที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่ มีวัยรุ่นชาวอาหรับและแอฟริกันที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ยากจนแถบชานเมืองเป็นผู้ก่อเหตุ และจากข้อมูลของทางการ ล่าสุดมีการจับกุมผู้ต้องสงสัยมีส่วนร่วมในการก่อจลาจลไปแล้ว 1,800 คน ซึ่ง 173 คนถูกสั่งจำคุกแล้ว และยังมีอีกมากที่ต้องขึ้นศาลด้านนิโคลาส์ ซาร์โกซี รัฐมนตรีมหาดไทย จุดกระแสวิพากษ์วิจารณ์นโยบายแข็งกร้าวของเขาอีกครั้ง เมื่อเขาแถลงต่อรัฐสภาในวันพุธ (9) ว่า เขาได้สั่งเนรเทศผู้กระทำผิดที่ไม่ใช่ชาวฝรั่งเศส แม้ว่าผู้นั้นจะมีเอกสารอนุญาตให้พำนักในประเทศก็ตามคำกล่าวของซาร์โกซี ทำให้กลุ่มพิทักษ์สิทธิมนุษยชนออกมาประณามทันทีว่า เป็นการตัดสินใจที่ผิดกฎหมาย ขัดกับพิธีสารยุโรปด้านสิทธิมนุษยชน อย่างไรก็ตาม ทางกระทรวงมหาดไทยได้ออกมาแถลงในเวลาต่อมาว่า ตัวเลขผู้ถูกเนรเทศ 120 คนที่ซาร์โกซีกล่าวถึงนั้น หมายถึงชาวต่างชาติที่ถูกควบคุมตัวในเหตุจลาจล และยังไม่ถูกตัดสินว่ามีความผิดหรือไม่ อีกทั้งยังรวมผู้เยาว์ ซึ่งจะถูกยกเว้นจากการเนรเทศด้วย

เล่าสู่กันฟัง























เล่าสู่กันฟัง : ไอเฟล

นอกจากนี้ได้มารู้ทีหลังว่า Metro ที่นี่มีราคาต่างชาติกับชาวฝรั่งเศสต่างกันคนฝรั่งเศส จะซื้อได้ในราคา 5 ยูโร ต่างชาติซื้อได้ 8 ยูโร วันแรกจ่าย 5 ยูโรเพราะเพื่อนเป็นคนซื้อให้มาวันที่ 2ไปซื้อกับเพื่อนญี่ปุ่นบอกว่า เอาแบบเดิมเขาไม่ยอมขายให้ก็เลยต้องจ่าย 8 ยูโรเพื่อจะไปชมพระราชวังแวร์ซาย กลางวันก็เที่ยวชมสถานที่ต่างๆในเมืองปารีสตกเย็นก็ไปหอไอเฟล
หอไอเฟลนี้ trickyจริง ด้วยความที่สูงมากจึงมองเห็นได้แต่ไกลมองเผินๆนึกว่าไม่ไกล ถามคนแล้วเขาบอกว่า Behind the Building ก็เห็นตึกอยู่แค่เนี้ยที่ไหนได้ไปเท่าไหร่ก็ไม่ถึงสักทีรู้งี้นั่งรถมาก็ดีมาถึงหอไอเฟล สามารถขึ้นลิฟท์ขึ้นไปถึงบนยอดได้หรือส่วนใหญ่จะไปแค่ชั้นสองคิวยาวเหยียดตามเคยส่วนใหญ่จะเป็นคนจาก รถบัสก็เลยเดินผ่านไปเฉยๆมองใกล้ๆไม่สวยเพราะมีโครงเหล็กต้องมองจากไกลๆจะดีกว่าแล้วก็ไปไกลมากด้วย จึงจะได้ภาพที่สวยงามของหอไอเฟล

รออยู่หวังที่จะได้ภาพสวยยามค่ำที่มีแสงไฟสวยงามของไอเฟลเหมือนในโปสการ์ด แต่อากาศไม่เป็นใจมีฝนตกบ้างเลยไม่ยอมมืดซะทีขึ้นไปถึงจุดชมวิวของหอไอเฟลเป็นระเบียงกว้างผู้คนยืนนั่งพักผ่อนกันตาม อัธยาศัยแต่ระยะทางมาจุดชมวิวจากฐานไอเฟลถ้าเดินขอเน้นว่า….ไกล หลังจากอิ่มหนำสำราญกับบรรยากาศรอบตัวที่นี่มองหา เมโทรไม่หลวมตัวเดินแล้วเห็นวัยรุ่นกลุ่มหนึ่งผ่านมาเลยถามไปว่า Hey ! do you know where the metro is ? เขาไม่รู้อีกคนในกลุ่มตอบ Do you know where Macdonal is ? เลยอ๋อ…กลุ่มนี้เป็นเด็กอเมริกันนั่นเอง


ขากลับแวะซื้ออโวคาโด จากแผงผลไม้ในทางเชื่อมรถไฟใต้ดินราคาไม่แพง 3 ลูก 2 ยูโรเนื้อดีอร่อยด้วยชอบจริงๆนึกถึงตอนไปฮาวายเก็บมาจากต้นเลยครั้งไปเยี่ยมบ้านเพื่อน รับประทานเป็นอาหารมื้อเย็น 1ลูก เก็บไว้เช้า 1 ลูก ยกให้Yoko กับ Tomoya 1 ลูก ตื่นเต้นใหญ่ไม่เคยเห็นอโวคาโดทั้งผลที่ญี่ปุ่นเขาต้องนำเข้าเหมือนกันและราคาแพงและเพิ่งรู้ว่าอโวคาโดเป็นผักไม่ใช่ผลไม้นะ เมืองไทยเข้าใจว่าปลูกได้แล้วทางเหนือ เพื่อนสงเคราะห์มีดพกแบบ Navy Swiss ผ่าและปอกอย่างดี



มาทำความรู้จักกับ....หอไอเฟลกันดีกว่า



หอไอเฟล : Eiffel Tower สถานที่ตั้ง : กรุงปารีส ประเทศ ฝรั่งเศส ปัจจุบัน : สามารถเข้าเยี่ยมชมได้หอไอเฟล (Eiffel) สัญลักษณ์ของนครปารีส สร้างขึ้นใน ค.ศ.1887-9 ออกแบบโดยวิศวกรที่มีชื่อเสียงของฝรั่งเศสชื่อ กุสตาฟ ไอเฟล (Gustave Eiffel) เพื่อเป็นสัญลักษณ์การจัดงานแสดงสินค้าโลกในปี 1889 (พ.ศ. 2413) ฉลองครบรอบ 100 ปีแห่งการปฏิวัติอุตสาหกรรม
ท่ามกลางกระแสวิพากษ์วิจารณ์ในทางลบว่า ทำลายความงดงามของกรุงปารีสด้วยโครงเหล็กน่าเกลียด อยู่ ๆ มีโครงเหล็กสูงโด่งขวางตาพวกเขา เพราะมันทำขึ้นจากโลหะ 15,000 ชิ้น หนักถึง 7,000 ตัน ยึดต่อด้วยน๊อต 3,500,000 ตัว สีทาทั้งหมด 35 ตัน สูง 1,050 ฟุต สิ้นเงินค่าก่อสร้าง 7,799,401 ฟรังก์ เสียเวลาสร้าง 1 ปี มีลิฟต์พาชมวิวได้สูงถึงยอดหอซึ่งมีร้านอาหารที่สามารถนั่งชมวิวได้ทั่วทั้งกรุงปารีส และชมความงามของแม่น้ำเซนด้วย
สุดท้ายหอไอเฟลกลับเป็นสถานที่ยอดนิยม ใครต่อใครที่มาปารีสต้องถ่ายรูปด้วยตามธรรมเนียม หอนี้เคยเป็นอาคารสูงที่สุดในโลกสมัยแรก จนกระทั่งตึกเอ็มไพร์เสตท สร้างเสร็จในปี ค.ศ. 1931
ในวันที่อากาศดีอาจขึ้นไปชมวิวได้ถึงชั้นสูงสุดที่ 899 ฟุต ยามค่ำคืน หอไอเฟลจะเปิดไฟสวยงามมาก และมุมที่ดีที่สุดที่จะถ่ายภาพหอไอเฟล คือ บริเวณ Trocadero มีทั้งร้านขายของที่ระลึก และภัตตาคาร เปิดทุกวันเวลา 9.30-23.00 น. ค่าขึ้นลิฟต์ชม ชั้นแรก 20 ฟรังค์ ชั้นแรกและชั้นสอง 42 ฟรังค์ ชั้นแรก/ชั้นสอง/ชั้นสาม 59 ฟรังค์

ฝรั่งเศส


Le français est une langue romane parlée en France, dont elle est originaire (la « langue d'oïl »), ainsi qu'en Afrique francophone, au Canada (principalement au Québec, au Nouveau-Brunswick et en Ontario), en Belgique, en Suisse, au Liban, en Haïti et dans d'autres régions du monde, soit au total dans 51 pays du monde ayant pour la plupart fait partie des anciens empires coloniaux français et belge.
Elle est une des deux seulescitation nécessaire langues internationales à être présentes et enseignées sur les cinq continents, une des six langues officielles et une des deux langues de travail (avec l'anglais) de l'Organisation des Nations-Unies, et langue officielle ou de travail de plusieurs organisations internationales ou régionales, dont l'Union européenne. Après avoir été la langue de l'Ancien Régime, des tsars de Russie en passant par les princes de l'Allemagne, jusqu'au rois d'Espagne, elle demeure une importante langue de la diplomatie internationale aux côtés de l'anglais.
La langue française a cette particularité que son développement et sa codification ont été en partie l'œuvre de groupes intellectuels, comme la Pléiade, ou d'institutions, comme l'Académie française. C'est une langue dite « académique ». Toutefois, l'usage garde ses droits et nombreux sont ceux qui malaxèrent cette langue vivante, au premier rang desquels Molière : on parle d'ailleurs de la « langue de Molière ».

Formaciones Naturales







En nuestro planeta existen gran cantidad de formaciones naturales bajo tierra las cuales son de un gran atractivo turístico. Estas mismas formaciones naturales son una importante reserva arquelógica por la gran cantidad de restos fósiles y pinturas rupestres encontrados en su interior.






El Mundo Intraterreno y las otras MoradasPor Juan Alberto García (FUPEC Colombia)

Por Juan Alberto García (FUPEC Colombia)
Construcciones Artificiales
Durante años el hombre se ha resguardado de las fuerzas de la naturaleza y de él mismo, construyendo fortines bajo la superficie de la tierra.
Existen grandes complejos militares bajo tierra planeados para proteger a los dirigentes de las grandes potencias en caso de una conflagración nuclear.

วันจันทร์ที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2550

Le français parisien

Le français parisien a déjà remplacé chez la majorité des locuteurs de la zone d'oïl les variétés locales de francilien (il ne s'agit pas ici de ce qu'on appelle parfois des « patois », c'est-à-dire des dialectes de la langue d'oïl, et difficilement intelligibles aux Parisiens, mais de variétés de français proches du parisien dans lesquelles les élites locales étaient déjà bilingues sous l'ancien régime). Les différences entre le français d'un jeune Normand et d'un jeune Parisien, par exemple, seront dans la plupart des cas minimes au regard de la diversité qui a existé historiquement en France dans le francilien même.
Le français parisien a constitué pendant longtemps la norme du français pour l'ensemble des francophones dans le monde, et continue d'exercer une influence sans pareille sur la langue française prise en son entier. C'est pour cette raison qu'on prend souvent le français parisien comme point de référence auquel on peut comparer d'autres variétés de français.
Toutefois, certaines évolutions récentes du français parisien par rapport à la norme traditionnelle du français, qui sont acceptées en France et même entérinées dans les dictionnaires (dont la quasi-totalité sont publiées en France), ne passent pas inaperçues à l'étranger. Ceci est vrai particulièrement au Canada, la région francophone où l'influence du français parisien est la moins forte. Pour ce qui est de la prononciation, on peut penser par exemple à la suppression du l géminé dans collègue, l'ajout du t dans août, ou l'homophonie de brin et de brun.
Il en va de même de certaines particularités lexicales telles que bande d'arrêt d'urgence « accotement stabilisé » ou aprèm « après-midi ». Un régionalisme caractéristique du français de France est parfois appelé francisme. Voir aussi le débat sur la norme du français québécois

Les variétés régionales du français

La variation régionale, en français, peut être abordée de deux manières :
en considérant que le français est un synonyme de la
langue d'oïl, ce qui implique que tous les dialectes romans du domaine d'oïl sont des variétés dialectales du français (voir l'article langue d'oïl) ;
en se limitant à ce qu'on appelle le « français régional », ensemble de variétés régionales dans le monde, qui restent très proches du français standard. C'est ce sens qui est développé ici.
Certains néologismes peuvent également être empruntés au
vocabulaire du français régional. On appelle « français régional » les mots ou les expressions employés dans certaines régions de la francophonie, mais non retenus dans les dictionnaires académiques du français ou qui ne sont pas utilisés dans l'ensemble de la francophonie. Il ne s'agit pas de langue familière, mais bien du français qui a évolué de façon différente.
En
France par exemple, le repas du matin s'appelle « petit-déjeuner », celui du midi le « déjeuner » et celui du soir le « dîner » ; au Québec, en Belgique et en Suisse, on dit « déjeuner », « dîner » et « souper ». En Belgique et en Suisse, on dit « septante » (70) et « nonante » (90) tandis qu'en Suisse on dit « huitante » (80) mais seulement dans certains cantons (la forme ancienne et aujourd'hui désuète de « huitante » était « octante »). Au Québec, en Suisse, en Belgique et dans certaines régions françaises, on dit « tantôt » là où le français de Paris mais aussi le français africain utilise « tout à l'heure » ; au Québec également, « magasiner » pour « faire des courses » (pour éviter l'anglicisme « faire du shopping »). Au Sénégal et en Afrique francophone, on parle parfois d'« essencerie » pour éviter le néologisme anglais de « station service », au Québec, on dit aussi « avoir une blonde » au lieu de « avoir une petite amie » ou « avoir une copine » etc.
Ce ne sont que quelques exemples et le français est riche de différences lexicales dans ses variantes régionales