วันเสาร์ที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2550








โรคเหงือกอักเสบ คือ อะไร ?
โรคเหงือกอักเสบ คือ การที่เนื้อเยื่อบริเวณที่รองรับฟันให้ติดกับ กระดูกขากรรไกรและกระดูกหุ้มรากฟัน เกิดการอักเสบโดยเŦ! 5;ิดจากสารพิษที่ขับ ออกมาจากแบคทีเรียที่ติดอยู่กับแผ่นคราบฟัน (Dental Plaque) รอบตัวฟันเกิด การอักเสบบวมแดงและทำให้เนื้อเยื่อที่ติดกับกระดูกขากรรไกรฉีกขาดได้
โดยปกติในช่องปากของคนเรา มักจะมีเชื้อแบคทีเรียอยู่เป็นจำนวน มาก ในน้ำลายจะมีแคลเซียมและฟอสฟอรัส เมื่อสะสมนานเข้าจะกŭ! 6;อให้เกิดหิน ปูนในช่องปาก ถ้าเราทำความสะอาดไม่ดีพอ แบคทีเรียในแผ่นคราบฟันจะไปยึด ติดกับหินปูนและเกาะตามบริเวณขอบเหงือกทำให้เกิดเหงือกอักเสบได้ในท&#! 3637;่สุด
จากสถิติของคนเป็นโรคเหงือกอักเสบมักไม่ทราบว่าตนเป็นโรคนี้ โรค เหงือกอักเสบในระยะเริ่มแรกจะไม่มีอาการใดๆ แต่เมื่อเป็! ;นมากขึ้นจะเริ่มมีเลือด ออกตามไรฟัน ซึ่งถ้าไม่ได้รับการรักษาจะพบอาการเหล่านี้ตามมา คือ การมี กลิ่นปาก เหงือกจะมีสีแดงคล้ำ ปวดและเจ็บบริเวณเหงือก เหงื! ;อกเริ่มแũ! 8;ก ;ตัว ออกจากฟัน จะรู้สึกว่าฟันยาวขึ้น เริ่มมีอาการโยกและเป็นหนองในเวลาต่อมา
จากการศึกษาโดยสมาคมโรคหัวใจของสหรัฐอเมริกา (Journal of the American Heart Association) พบว่าคนที่มีเชื้อแบคทีเรียในช่องปาก ชนิดที่ทำให้เกิดโรคเหงือกอักŬ! 8;สบในกระแสเลือดมากกว่าปกติ จะมีการหนาตัว ของผนังหลอดเลือดแดงใหญ่เกิดโรคหลอดเลือดแข็งตัว (Atherosclerosis) บริเวณหลอดเลือดใหญ่ที่ลำคอ (Carotid Artery) และพบปริมาณเม็ดเลือดขาว มี&! #3617;ากขึ้น ภา! ;ว ะหลอดเลือดแข็งตัว หมายถึง การที่ผนังหลอดเลือดเกิดการแข็ง ตัวสูญเสียความยืดหยุ่นไปเนื่องจากมีการสะสมของคราบไขมัน และหินปูนที่ผนัง หลอดเลือด ทำให้หล! 629;ดเลือดมีขนาดเล็กลงจนเกิดการอุดตันหลอดเลือดที่จะไป เลี้ยงหัวใจและกล้ามเนื้อหัวใจตายในที่สุด
เนื่องจากโรคเหงือกอักเสบเป็นการอักเสบซึ่งเกิดจาก เชื้อแบคทีเรียที่ บริเวณเหงือก (Periodontal Bacteria) ปล่อยสารพิษออกมาผ่านเข้าสู่กระแ$! 26; เลือดและเข้าไปยึดเกาะตามอวัยวะต่างๆของร่างกาย หัวใจเป็นอวัยวะที่มีการ อักเสบจาก Periodontal Bacteria ได้ง่ายมาก ซึ่งจะเห็นว่ากรณีที่มีคนไข้เป็น โรคหัวใจบางชนิด แพทũ! 8;์จะให้ยา$! 11;ŧ 9;ิชีวนะกับคนไข้ก่อนทำการขูดหินปูนและ การถอนฟัน
คนไข้ที่มีประวัติเป็นโรคหัวใจที่ต้องได้รับยาปฏิชีวนะก่อนการทำฟัน มีดังนี้
• การอักเสบของผนังหัวใจและลิ้นหัวใจ (Infective Endocarditis)• การรักษาโรคหัวใจรูมาติก (Rheumatic Fever)• Mitral Valve Prolapsed หรือ การผิดปกติของลิ้นหัวใจ (Prosthetic Heart Valve)
คนไข้ที่มีการทานยาละลายลิ่มเลือด หรือยาที่ใช้ป้องกันการแข็งตัว ของหลอดเลือดควรบอกทันตแพทย์ของท่านให้ทราบก่อน เพราะถ! ;้าทำการถอน ฟันโดยไม่ได้หยุดยาละลายลิ่มเลือด จะทำให้เลือดไหลไม่หยุดเช่นเดียวกับการ ขุดหินปูนสำหรับคนไข้ที่เป็นโรคเหงือกอักเสบ แพทย์โรคหัวใจและทัน! 605;แพทย์ ของ&! #3607;&# 3656;านจะต้องทำงานร่วมกัน เพื่อป้องกันปัญหาแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น
โรคหัวใจ เป็นสาเหตุการตายของประชากรในอันดับแรกๆ ของทุก ประเทศ การงดสูบบุหรี่ การควบคุมอาหาร การออกกำลังกาย และการรักษา &! #3626;ุขภาพในช่องปากโดยการพบทันตแพทย์ทุก 6-12 เดือน เป็นการป้องกันการ เกิดโรคหัวใจได้อีกทางหนึ่ง
การป้องกันการเกิดโรคเหงือกอักเสบ
• แปรงฟันอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง และใช้ไหมขัดฟัน (Dental Floss) ทำความสะอาดซอกฟันทุกวัน• ใช้ยาสีฟันที่ผสมฟลูออไรด์เพื่อป้องกันฟันผุ• การแปรงฟันให้ถูกวิธี• ใช้แปรงสีฟันที่มีขนอ่อนนุ่มและหมั่นตรวจสภาพของแปรงสีฟัน เมื่อขน แปรงเริ่มบาน หรือ เปลี่ยนรูปแล้วควรเปลี่ยนใหม่ เมื่อแปรงเสร็จ&! #3588;วรวางไว้ในที่ ที่มีอากาศถ่ายเทป้องกันการเกิดเชื้อรา • ควรแปรงลิ้นในขณะแปรงฟันด้วย• พบทันตแพทย์ปีละ 2 ครั้ง เพื่อตรวจดูสภาพช่องปาก และรับการขูดหินปูน
การดูแลสุขภาพช่องปากและฟันจะทำให้สุขภาพโดยทั่วไปของท่านดีขึ้น และ การป้องกันการเป็นโรคเหงือกอักเสบจะช่วยลดอัตราเสี่ยงของการเกิดโร! คหลอด เลือดแข็งตัวและโรคหัวใจได้ดียิ่งขึ้น

ไม่มีความคิดเห็น: